Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

不良在庫の破棄について

不良在庫の破棄について

以前は資産売却時の注意点について記載しましたので、今回は不良在庫の破棄について記載致します。

歳入法第65条により、在庫の破棄は売上と関係がないため、法人税や付加価値税などの課税所得になりません。また、破棄する在庫の原価については当年の法人税の申告時に損金として計上することができます。

在庫の「破棄」というのはその在庫を商品ではない状況にすることです。破棄方法の例としては焼く、叩き壊す、潰す、切る、埋めるなどがあります。またはその在庫を売却できない状態にすることです。その在庫が売買出来る状態である場合、追加の所得を申告する必要があります。

商品破棄を行う際の手続きは以下の通りです。

1. 商品の破棄の30日間前に管轄の歳入局に破棄通知書(หนังสือแจ้งทําลายสินค้า)を送ります。歳入局の担当官が破棄を行う日に視察する可能性があります。通知書の内容は以下となります。

1.1 破棄する日時

1.2 場所

1.3 破棄方法(破棄を会社である業者に委託する場合のほうが信頼性が高くなります)

1.4 破棄する商品の価値、量数、商品の写真

2. 会計事務所に破棄について、歳入局への連絡と同じ内容を通知します。

3. 破棄の当日に歳入局の担当官と会計監査人、また場合によっては倉庫会社のスタッフ、会計スタッフ、セールススタッフ、アドミンスタッフなどの関係者の立会のもとで行います。また、会計処理のために破棄の内容についての証明書を作成します。

原則は上記の通りとなりますが、歳入局から追加の情報や追加の所得申告を求められるケースもみられます。

---

การทำลายสินค้าที่ชำรุดหรือที่มีตำหนิ
ก่อนหน้านี้ทางผู้เขียนได้เขียนอธิบายเรื่องการขายสินทรัพย์ วิธีการที่ทำให้สรรพากรยอมรับไปแล้ว ในครั้งนี้ จะเขียนข้อแนะนำ วิธีการการทำลายสินค้า เพื่อให้สรรพากรยอมรับและนำมาเป็นค่าใช้จ่ายในบริษัทได้

ตามมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร การทำลายสินค้านั้นไม่มีภาระเสียภาษีใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือภาษีมูลค่าเพิ่ม (ไม่จำเป็นต้องนำส่งภาษีขาย) เนื่องจากไม่ใช่การเพิ่มรายได้ นอกจากนั้นค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนในการทำลายสินค้า บริษัทมีสิทธินำมูลค่าต้นทุนของสินค้าที่ถูกทำลายมาลงเป็นรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีที่ทำลายได้

คำว่า “ ทำลายสินค้า ” หมายถึงการทำให้สินค้านั้น “ไม่มี” หรือไม่อยู่ในสภาพที่เป็นสินค้า เช่น การเผา การทุบ การบด การตัดเป็นชิ้นๆ การเท ฝัง กลบ(กรณีเป็นของเหลว) เป็นต้น หรือ การทำให้สินค้านั้นไม่สามารถนำไปขายต่อได้ เพราะหากสินค้าอยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปขายได้นั้น บริษัทอาจจะโดนบังคับให้ยื่นภาษีในภายหลัง

หลักเกณฑ์ในการปฏิบัติมีดังต่อไปนี้

  1. บริษัทจะต้องทำหนังสือแจ้งการทำลายให้สรรพากรพื้นที่ในท้องที่ที่รับผิดชอบทราบล่วงหน้าเป็นเวลา 30 วัน ก่อนวันทำลาย ซึ่งสรรพากรพื้นที่อาจส่งเจ้าหน้าที่ไปดูการทำลายด้วยก็ได้ตามความเหมาะสมของแต่ละกรณี โดยมีใจความสำคัญในการแจ้งดังต่อไปนี้
    • วันและเวลา ที่จะทำลาย
    • สถานที่ ที่จะทำลาย
    • วิธีการทำลาย (การจ้างบริษัททำลายสินค้ามาจะช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือ)
    • มูลค่าสินค้าที่จะทำลาย จำนวนชิ้น พร้อมภาพถ่ายประกอบการพิจารณา
  1. บริษัทจะต้องแจ้งการทำลายให้ผู้สอบบัญชีเหมือนที่แจ้งสรรพากรทุกประการ
  2. วันที่ทำลายนั้น นอกจากผู้ตรวจสอบบัญชีและสรรพากรแล้ว จะต้องมี ผู้เข้าร่วมหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายบัญชี ฝ่ายขาย หรือฝ่ายตรวจสอบ (ถ้ามี) ร่วมสังเกตการณ์ และลงลายมือชื่อเป็นพยานในการทำลายเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการบันทึกบัญชี

แนวทางปฏิบัติเป็นเพียงแค่วิธีการสร้างความน่าเชื่อถือในการบันทึกบัญชีซึ่งทางเจ้าพนักงานสรรพากรมีสิทธิ์ในการประเมินหรือพิจารณาค่าใช้จ่ายในการทำลายสินค้า หากเจ้าพนักงานประเมินไม่เชื่อถืออาจจะต้องมีการชี้แจงเพิ่มเติมหรืออาจถูกเรียกเก็บภาษีย้อนหลัง

 

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List