Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

3万バーツまでの消費にかかる所得控除

3万バーツまでの消費にかかる所得控除

9月にタイ政府より個人や小企業向けの「コンラクン(คนละครึ่ง)」という助成政策が発表されました。また、景気回復及び個人、中企業や大企業を包括的に助成するため、「ショップディミークーン(ช้อปดีมีคืน)」という所得控除の政策が10月12日に発表されました。

「ショップディミークーン(ช้อปดีมีคืน)」は個人が所得より2020年10月23日~12月31日の消耗品費上限3万バーツを控除することができます。ただし、控除することによる減税額は以下の表の通り年間所得及び所得税率によります。

                                                                                       単位:バーツ

年間所得金額

減税額

0 – 150,000

30,000 x 0% = 0

150,001 – 300,000

30,000 x 5% = 1,500

300,001 – 500,000

30,000 x 10% = 3,000

500,001 – 750,000

30,000 x 15% = 4,500

750,001 – 1,000,000

30,000 x 20% = 6,000

1,000,001 – 2,000,000

30,000 x 25% = 7,500

2,000,000 – 5,000,000

30,000 x 30% = 9,000

5,000,000 以上

30,000 x 35% = 10,500

 

なお、控除不可能な商品やサービスは以下の通りです。

1. お酒(ビール、ワイン等)

2. タバコ

3. 乗り物用のガソリンやガス

4. 自動車、バイクや船の費用

5.  新聞と雑誌(紙の書籍・E-book)

6. ツアー

7. ホテルの費用

この所得控除を利用する希望者はVAT登録したお店または会社より発行されるTax Invoiceを取得し、確定申告の際に歳入局に申告する必要があります。Tax Invoiceを取得せずに、一般なInvoice/Receiptしかない場合には、所得控除をすることができません。なお、タイ人の読書奨励及び一村一品運動(One Tambon One Product: OTOP)の支援のため、VAT登録していないお店から紙の書籍・E-bookやコミュニティ開発局に登録したOTOPの商品を買った場合には、その費用を所得控除することが可能です。

ただし、上記の政策は福祉カードを所持する方及び別の助成政策である「コンラクン(คนละครึ่ง)」を利用した方は対象外となります。

 

ค่าลดหย่อนเพื่อการอุปโภคบริโภคสูงสุดถึง 3หมื่นบาท

เมื่อช่วงเดือนกันยายนที่ผ่านมาทางรัฐบาลได้มีนโยบายช่วยเหลือประชาชนทั่วไปและผู้ประกอบการรายย่อยผ่านโครงการที่ชื่อว่า “คนละครึ่ง” แต่เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและช่วยเหลือประชาชนและผู้ประกอบขนาดกลางและขนาดใหญ่ได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ทางรัฐบาลจึงออกนโยบายที่ชื่อว่า “ช้อปดีมีคืน” เมื่อวันที่ 12 ต.ค. ที่ผ่านมา

นโยบาย “ช้อปดีมีคืน” เป็นนโยบายที่ให้ประชาชนนำค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคตั้งแต่วันที่ 23 ต.ค. – 31 ธ.ค. 2563 มาหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแต่ไม่เกิน 30,000 บาท โดยจำนวนเงินที่สามารถลดหย่อนได้ในที่นี้จะขึ้นอยู่กับรายได้และฐานภาษีของแต่ละบุคคล ดังตารางดังต่อไปนี้

                                                                                           หน่วย:บาท

เงินได้ต่อปี

จำนวนเงินที่สามารถลดหย่อนได้

0 – 150,000

30,000 x 0% = 0

150,001 – 300,000

30,000 x 5% = 1,500

300,001 – 500,000

30,000 x 10% = 3,000

500,001 – 750,000

30,000 x 15% = 4,500

750,001 – 1,000,000

30,000 x 20% = 6,000

1,000,001 – 2,000,000

30,000 x 25% = 7,500

2,000,000 – 5,000,000

30,000 x 30% = 9,000

5,000,000 ขึ้นไป

30,000 x 35% = 10,500

 

สินค้าที่สามารถนำมาลดหย่อนได้จะไม่รวมถึง

  1. สุรา เบียร์ และไวน์
  2. ค่ายาสูบ
  3. ค่าน้ำมันและก๊าซสำหรับเติมยานพาหนะ
  4. ค่ารถยนต์ รถจักรยานยนต์ และเรือ
  5. ค่าหนังสือพิมพ์และนิตยสารทั้งในแบบรูปเล่มและ E-book
  6. ค่านำเที่ยว
  7. ค่าโรงแรม

ซึ่งผู้ที่ต้องการนำค่าใช้จ่ายมาหักลดหย่อนภาษี จำเป็นจะต้องขอใบกำกับภาษีเต็มรูปแบบจากผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีแล้วนำมาใช้ยื่นภาษีแก่สรรพากร ณ วันที่ยื่นภาษี หากไม่ได้ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปแบบแต่ได้ใบเสร็จธรรมดาหรือใบกำกับภาษีอย่างย่อมาก็จะไม่สามารถใช้สิทธิได้ และเพื่อส่งเสริมการอ่านของคนไทยและสนับสนุนสินค้าท้องถิ่น (หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์: OTOP) หากซื้อหนังสือทั้งในแบบรูปเล่มและ E-book และสินค้าท้องถิ่นที่ได้มีการลงทะเบียนกับกรมพัฒนาชุมชนแล้ว แม้จะซื้อจากร้านค้าที่ไม่ได้จดทะเบียนภาษีก็สามารถนำมาลดหย่อนได้

อย่างไรก็ตามผู้ที่ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและผู้ที่ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ “คนละครึ่ง” จะไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนนี้ได้

 

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

 

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

 

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List