Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

新型コロナウイルス感染症にかかる労務に関するQ&A

新型コロナウイルス感染症にかかる労務に関するQ&A

新型コロナウイルス感染症の拡大はタイの経済及び社会への影響が引き続き大きいため、労務に関する様々な議論があります。その中で最近よく頂くご質問を以下に記載致します。

1.  会社は解雇補償金を支払わずに、コロナウイルスに感染したまたは感染の可能性が高い従業員の雇用を終了することは可能でしょうか。

コロナウイルスに感染したまたは感染の可能性が高い従業員の雇用を労働者保護法の119条に基づき解雇することは出来ません。119条に基づく解雇は6つの特定の理由に該当する場合のみ可能で、この場合補償金を支払う必要がありません。

そのため、勤続119日以上の従業員がコロナウイルスの感染が判明したことで雇用を終了する場合、会社は労働者保護法の118条に基づき、解雇補償金を支払う必要があります。

2. 14日隔離中に出勤しない従業員に賃金を支払わないことは可能でしょうか。

従業員が隔離する必要がある場合、または症状の観測のため会社の命令で隔離する場合、欠勤中は年次有給休暇、傷病休暇、私用休暇など就業規則に基づき有給休暇を利用することを従業員と同意することがきます。有給休暇を利用する場合、従業員は失業保険が申請できません。一方、隔離中を無給休暇(Leave without pay/No work no pay)として従業員と同意することも可能です。この場合は、従業員は失業保険が申請できます。

3. 政府の命令で会社を休業する場合、従業員に賃金を支払う必要がありますか。

会社は政府の命令で休業し、悪影響を受ける場合、業務内容によって会社は従業員の全部または一部を休ませることが可能です。

従業員に賃金を支払う場合、会社と従業員は有給休暇または無給休暇いずれとするかを合意で決めることできます。もし従業員は全額または一部の賃金を支給される場合、失業保険が申請できません。もし無給の場合、社会保険事務所から失業保険として賃金の50%、上限7,500バーツ/月が受けられます。

---

ถาม-ตอบปัญหาด้านแรงงานที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
ในช่วงที่โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ยังคงแพร่กระจายและส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจและสังคมของไทยอย่างต่อเนื่องนั้น ก่อให้เกิดข้อถกเถียงที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านแรงงานมากมาย ซึ่งคำถามที่มักจะถูกถามบ่อย ๆ มีดังนี้

  1. บริษัทมีสิทธิเลิกจ้างพนักงานเนื่องจากพนักงานติดเชื้อโควิดหรือเสี่ยงที่จะติดเชื้อโควิดโดยไม่จ่ายค่าชดเชยได้หรือไม่

บริษัทไม่อาจอ้างเหตุตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 119 ในกรณีเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยแก่พนักงานได้ เนื่องจากกฎหมายกำหนดกรณีเฉพาะไว้เพียง 6 กรณีเท่านั้นที่จะสามารถเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย

ดังนั้น เมื่อพนักงานที่ทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลาเกินกว่า 119 วัน ได้ตรวจพบว่าติดเชื้อหรือมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อโควิดและบริษัทมีความประสงค์จะเลิกจ้าง บริษัทจะต้องพิจารณาเลิกจ้างโดยจ่ายค่าชดเชยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 118

  1. บริษัทไม่จ่ายค่าจ้างในวันที่พนักงานไม่มาทำงานในช่วงกักตัว 14 วัน ได้หรือไม่

ในกรณีที่พนักงานจะต้องกักตัวหรือบริษัทเห็นควรให้พนักงานกักตัวเพื่อเฝ้าสังเกตอาการ บริษัทอาจตกลงกับพนักงานสำหรับการขาดงานช่วงเวลานั้น โดยอาจให้ใช้สิทธิลาหรือวันหยุดของพนักงานโดยได้รับค่าจ้าง เช่น ลาป่วย ลากิจ วันหยุดพักผ่อนประจำปี หรือวันลาอื่นๆ ตามระเบียบหรือข้อบังคับบริษัท ทั้งนี้ เมื่อพนักงานขาดงานโดยได้รับค่าจ้างจากบริษัทแล้วนั้น พนักงานไม่อาจรับเงินทดแทนกรณีว่างงานจากประกันสังคม อย่างไรก็ตาม บริษัทและพนักงานอาจตกลงกันให้ช่วงเวลาหนึ่งนั้นเป็นการขาดงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง (Leave without pay หรือ No work no pay) ก็ได้ ซึ่งในกรณีนี้พนักงานจะสามารถใช้สิทธิเข้ารับเงินทดแทนกรณีว่างงานจากประกันสังคม

  1. บริษัทได้รับคำสั่งจากรัฐให้ปิดสถานประกอบการหรือหยุดกิจการชั่วคราว บริษัทจะต้องจ่ายค่าจ้างให้พนักงานหรือไม่

เมื่อบริษัทได้รับผลกระทบจากคำสั่งของรัฐให้ปิดสถานประกอบการเป็นการชั่วคราว บริษัทอาจพิจารณาปิดทำการทุกส่วนและให้พนักงานหยุดงานทั้งบริษัท หรืออาจพิจารณาสั่งหยุดงานเฉพาะส่วนงานก็ได้ ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของส่วนงานที่แตกต่างกัน

ในกรณีการจ่ายค่าจ้างนั้น ให้เป็นไปตามความตกลงกันระหว่างบริษัทและพนักงานว่าจะให้ใช้สิทธิลาหรือหยุดโดยได้รับค่าจ้างก็ได้ หรืออาจตกลงกันให้เป็นการหยุดงานโดยไม่ได้รับค่าจ้างก็ได้ ทั้งนี้ หากพนักงานได้รับค่าจ้างไม่ว่าทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก็ไม่อาจขอรับสิทธิประโยชน์ใด ๆ ในกรณีว่างงานได้ แต่หากพนักงานถูกสั่งให้หยุดงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง พนักงานจะสามารถขอรับเงินทดแทนกรณีว่างงานในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างปัจจุบัน แต่ไม่เกิน 7,500 บาทต่อเดือน จากสำนักงานประกันสังคมได้

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List