Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

MADE IN THAILAND (MiT)商品の認証

MADE IN THAILAND (MiT)商品の認証

2020年12月8日の省令により、政府機関が商品、工具、道具などを購入する場合、タイ国内で製造されたものを最低60%、建築業務の場合、最低90%を使うという規則があります。タイ工業連盟からMADE IN THAILAND (MiT)という認証を取得した商品はMiT認証を受けていないまたは海外からの商品を比較すると政府機関から優先的に購入されることになります。MiT認証を申請できる商品はタイ国籍の自然人またはタイ法律に基づいて設立し、タイのTax IDを所持している法人、外資会社(BOI)、タイで設立した日系企業が製造したものです。商品は海外から輸入される材料で製造されても、タイ国内での製造で商品価値がASEAN Contentという基準を超える場合、MiT認証が認められます。

 

ASEAN Content基準は4つあります。まず1.を確認して基準を満たす場合にはMiT認証として認められます。1.の基準を満たさない場合には、基準2,3,4と順番に確認していずれかに該当する場合に認められます。

1. 直接な計算方法

タイ国内の材料および原価で40%以上商品を製造する場合。

                     

2. 間接な計算方法

      

3. HS Codeの確認

HS Codeは8桁がありますが、最初の6桁を確認します。

Chapter 1-2桁目

Tariff Heading 3-4桁目

Tariff SubHeading 5-6桁目

材料と商品のHS Codeが同じ場合には加工したものとみなされずに、MiT認証として認められません。

例えば以下のように材料と商品のHS Codeが異なる場合にはMiT認証として認められます。

 材料      商品

7208.20     7308.20 

7208.20     7210.20 

7208.20     7208.30

4.  製造工程の確認

商品は100%の輸入された材料でなく、タイ国内の材料もあわせて製造される場合、製造工程から確認されます。もし、製造工程が複雑な工程(Substantial Transformation)を利用すればMiT認証が認められます。

 

MiT認証の申請手続きが終わると、タイ工業連盟から認証書が受け取れます。認証書発行の手数料は1モデル当たり100バーツがかかります。認証書は1年有効になりますので、毎年更新が必要となります。もし1回に6~10モデルで認証を申請すると、認証書の手数料が1モデル当たり70バーツ、さらに1回に11モデル以上で認証を申請すると、認証書の手数料が1モデル当たり50バーツ低くなります。

現在では、MiTのメリットは政府機関から商品を購入される可能性が高くなることのみですが、政府はタイ国内の製造者を支援を検討しており、将来的にはMiT商品に関する追加の恩典が発表される可能性もあります。

---

การรับรองสินค้า MADE IN THAILAND (MiT)

เนื่องจากประกาศกฎกระทรวงเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 ได้กำหนดให้หน่วยงานรัฐเวลาจะจัดซื้อพัสดุ อุปกรณ์นั้น จะต้องซื้อของที่ถูกผลิตในประเทศไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 หรือหากเป็นงานก่อสร้างก็จำเป็นจะต้องใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณเหล็กที่ใช้ในงานก่อสร้างทั้งหมด โดยจะให้สิทธิกับสินค้าที่ได้รับการรับรอง MADE IN THAILAND (MiT) จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยก่อน ซึ่งสินค้าที่จะได้รับการรับรองนั้นจะต้องเป็นสินค้าที่ผลิตจากบุคคลธรรมดาสัญชาติไทย หรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย รวมไปถึงบริษัทที่เป็นทุนจากต่างประเทศ (BOI) หรือบริษัทญี่ปุ่นที่จัดตั้งในไทย ที่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรในไทย และแม้ว่าจะใช้วัตถุดิบจากต่างประเทศ หากมีแหล่งผลิตในไทยก็สามารถขอรับรอง MiT ได้ แต่มูลค่าของสินค้าจะต้องเกินหลักเกณฑ์ที่ทางสภาอุตสาหกรรมกำหนดไว้ ซึ่งจะใช้วิธีการคำนวณตามหลัก ASEAN Content

การคำนวณตามหลัก ASEAN Content จะแบ่งออกเป็น 4 แบบ โดยหากผ่านเกณฑ์วิธีการคำนวณที่ 1 สินค้าตัวนั้นก็จะได้รับรอง MiT เลย แต่หากไม่ผ่านเกณฑ์วิธีการคำนวณที่ 1 ก็จะใช้วิธีการคำนวณที่ 2, 3 และ 4 ตามลำดับจนเข้าเกณฑ์ที่เหมาะสม

  1. การคำนวณทางตรง

วัตถุดิบที่นำมาใช้ผลิตนั้นมีวัตถุดิบและต้นทุนที่เกิดจากในประเทศไทยเกินร้อยละ 40

                      

  1. การคำนวณทางอ้อม

  1. การตรวจสอบจากเลขพิกัดศุลกากร

โดยปกติแล้ว HS Code มีทั้งหมด 8 หลัก โดยทางเจ้าหน้าที่จะตรวจสอบ 6 หลักแรก ซึ่งได้แก่

ระดับ Chapter หลักที่ 1-2
ระดับ Tariff Heading หลักที่ 3-4
ระดับ Tariff SubHeading หลักที่ 5-6

ถ้าหากเลข HS Code ของวัตถุดิบและสินค้าที่จะขอการรับรอง MiT ตรงกัน ซึ่งหมายความว่าไม่ได้มีการถูกแปรรูป และส่งผลให้สินค้านั้นไม่ได้รับการรับรอง MiT

ตัวอย่างของความแตกต่างของเลข HS Code ระหว่างวัตถุดิบและสินค้าที่จะได้รับการรับรอง MiT

วัตถุดิบ                   สินค้า
7208.20   7308.20 
7208.20   7210.20 
7208.20   7208.30

  1. การตรวจสอบจากกระบวนการผลิต

หากสินค้าที่จะขอการรับรอง MiT นั้น ไม่ใช่วัตถุดิบนำเข้าทั้งหมด แต่มีการใช้วัตถุดิบในประเทศไม่ถึงร้อยละ 40 นั้น จะถูกพิจารณาจากกระบวนการผลิต หากกระบวนการผลิตเป็นแบบการแปรรูปหรือแปรสภาพอย่างพอเพียง (Substantial Transformation) ก็สามารถขอรับการรับรองได้

เมื่อผ่านกระบวนการยื่นขอ MiT ทางสภาอุตสาหกรรมจะออกใบรับรองให้ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ 100 บาทต่อสินค้า 1 แบบ โดยใบรับรองนี้จะมีอายุ 1 ปี และหากขอใบรับรองหลายใบสำหรับสินค้าหลายแบบใน 1 ครั้ง อัตราค่าบริการในการออกใบรับรองก็จะลดลง 6-10 ใบ จะมีค่าบริการอยู่ที่ 70 บาทต่อ 1 ใบ และ 11 ใบเป็นต้นไป จะมีค่าบริการอยู่ที่ 50 บาทต่อ 1 ใบ

แม้ว่าในตอนนี้จะเป็นการเพิ่มโอกาสให้ได้รับการว่าจ้างจากหน่วยงานรัฐเพียงอย่างเดียว แต่ในอนาคตอาจจะมีสิทธิประโยชน์อื่น ๆ เพื่อส่งเสริมการผลิตของผู้ประกอบการไทย

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

 

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List