Notice: Undefined offset: 0 in /home/myhomese/domains/businessmanagementasia.com/public_html/page/news.php on line 46

納税期限の延長と土地家屋税の軽減について

納税期限の延長と土地家屋税の軽減について

2020年個人所得税・源泉税・VAT税務申告書の期日の延長

コロナウイルスの影響で歳入局は以下の各税金の申告期限の延長を発表致しました。

  1. 2020年の個人所得税(PND.90、PND.91)は2021年3月31日までに申告が必要ですが、オンラインシステムで申告する場合、21年6月30日までに延長になりました。
  2. 源泉税(PND.1、PND.2、PND.3、PND.53、PND.54)の申告期限はオンラインシステムで申告する場合、通常は翌月15日までとなりますが翌月末までに延長になりました。延長期間は21年2月から6月までとなります。
  3. VAT税務申告書(PP.30、PP.36)の申告期限はオンラインシステムで申告する場合、通常は翌月23日までとなりますが翌月末までに延長になりました。延長期間は21年2月から6月までとなります。

上記の申告期限の延長は納税期限も延長となりますので、個人及び会社にメリットがありますが、外国人の従業員がいる会社はビザ・ワークパーミットの延長の際に注意が必要です。ビザ・ワークパーミットの延長には以下の税務資料が必要となります。

・個人所得税確定申告書(PND.91)

・源泉徴収票(PND.1)

・税務申告書(PP.30)

そのため、今回の申告期限の延長はあるものの、ビザ・ワークパーミット延長を申請するタイミングを確認し、延長のタイミングに間に合うように申告・納税し資料を準備しなければなりません。

 

2021年土地家屋税の90%控除

2021年はコロナウイルスの影響により土地家屋税法第55条の土地家屋税額が90%控除(実質10%のみ納税)となります。

以下で事務所などの商業用の賃借の場合の条件を記載します。

賃貸人:納税者が商業用の土地、または建物を所有してる場合。資産の価値が0から5千万バーツまでであれば、税率が0.3%となります。

例としては、50万バーツ商業用の部屋を所有すしている場合、年間の土地家屋税が1,500バーツとなりますが、今年は90%控除となるため150バーツとなります。

賃借人:賃貸契約書には賃借人が賃貸人の代わりに土地家屋税を納付するケースがあります。この場合、賃貸人が先に納税し、その後賃借人に請求するのが一般的です。賃借人が土地家屋税を負担することになりますが、賃貸人と同じように控除を受けているケースが多くなっています。

なお、賃借人が賃貸人に支払いをする際には、5%の源泉税を引く必要があります。上記の例の場合、賃借人が150バーツの土地家屋税を納めますが、源泉税を引いてから142.50バーツを賃貸人に支払い、7.50バーツの源泉税を歳入局に申告する必要があります。

---

เลี่อนกำหนดชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา,ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย , ภาษีมูลค่าเพิ่ม

เนื่องด้วยสถานะการณ์ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทางกรมสรรพากรจึงเลื่อนการชำระภาษีดังต่อไปนี้

  1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับปีภาษี 2563 (แบบ ภ.ง.ด.90 แบบ ภ.ง.ด.91) ที่ต้อง ยื่นแบบฯ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2564 ให้ขยายเวลาออกไปถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2564 เฉพาะแบบที่ยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต
  2. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (แบบ ภ.ง.ด. 1 แบบ ภ.ง.ด. 2 แบบ ภ.ง.ด. 3 แบบ ภ.ง.ด. 53 และ แบบ ภ.ง.ด. 54) ขยายเวลาการยื่นแบบฯ จากปกติวันที่15ของเดือนเป็นวันสุดท้ายของเดือนที่ต้องยื่นแบบฯ โดยให้เริ่มขยายเวลา สำหรับการยื่นแบบฯ ในเดือนกุมภาพันธ์2564 ถึงเดือน มิถุนายน2564 เฉพาะแบบฯ ที่ยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต
  3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม (แบบ ภ.พ. 30 แบบ ภ.พ. 36) ขยายเวลาการยื่นแบบฯ ถึงวันสุดท้าย ของเดือนที่ต้องยื่นแบบฯ โดยให้เริ่มขยายเวลาสำหรับการยื่นแบบฯ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ถึงเดือน มิถุนายน 2564 เฉพาะแบบฯ ที่ยื่นผ่านทางอินเทอร์เน็ต

จากข้อมูลดังกล่าว เห็นได้ชัดเจนว่ามีผลประโยชน์ต่อบุคคลและบริษัท เป็นอย่างมาก เพราะ นโยบายนี้ช่วยยืดระยะเวลาการจ่ายเงินออกไป แต่ว่าในฐานะบริษัทที่มีคนต่างชาติ บริษัทควรจะต้องระวังในเรื่อง การต่อวีซ่า(VISA) หรือ ใบอนุญาตการทำงาน (Work Permit) เพราะมีเอกสารที่จำเป็นที่จะต้องใช้ ดังต่อไปนี้

  • เอกสารภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา PND91
  • เอกสารภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (แบบ ภ.ง.ด. 1)
  • เอกสารภาษีมูลค่าเพิ่ม (แบบ ภ.พ. 30)

บริษัทควรจะตรวจสอบรายละเอียดระยะเวลาและข้อมูลที่จะต้องใช้ในการ ต่อ การต่อวีซ่า(VISA) หรือ ใบอนุญาตการทำงาน (Work Permit) ของคนต่างชาติ เพื่อจะได้ชำระเงินและคัดเอกสารภาษีได้ทัน

 

ปลับลดอัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างปี 2564

จากสถานะการณ์ไวรัสโคโรนา (COVID-19) รัฐบาลจึงออกมาตรการลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พิจารณาลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างปี 2564 อัตรา 90% ตามมาตรา 55 แห่ง พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ

ในประเด็นนี้จะขอนำเสนอเฉพาะ การให้เช่าห้องเพื่อทำสำนักงาน โดยเงื่อนไขจะเป็นดังต่อไปนี้

ผู้ให้เช่า: ผู้เสียภาษีจะต้องเป็นผู้ที่มีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างไว้ในครอบครองและใช้เพื่อการค้าหรือแสวงหากำไร เช่น การปล่อยเช่า ฯลฯ จะต้องเริ่มเสียโดยคิดจากมูลค่าหลักทรัพย์เริ่มต้นที่ 0 – 50 ล้านบาท คิดอัตราภาษีที่ 0.3% (ภาษี ล้านละ 3,000 บาท)

 เช่น ห้องเช่ามูลค่า 500,000 บาท ภาษีที่จะต้องชำระในปี = 1,500 บาท (500,000*0.3%) ต่อปี  แต่ในปี2564นี้ ลดอัตราภาษีลง 90% ดังนั้น ยอดที่ต้องจ่ายต่อปีคือ 150 บาท

ผู้เช่า: ในการทำสัญญาเช่า บางที่จะมีสัญญาที่ระบุว่า ผู้เช่าจะต้องจ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแทนผู้ให้เช่า กล่าวคือ ผู้ให้เช่าจะจ่ายเงินให้ทางราชการก่อน จากนั้นจะมีการเรียกเก็บกับผู้เช่า ภาระหน้าที่จะตกเป็นของผู้เช่าซึ่งผู้เช่าเองจะได้รับการลดอัตราภาษีลงเช่นเดียวกัน แต่เนื่องจากเป็นการโอนเงินให้บริษัท จึงจำเป็นต้องมี หัก ณ ที่ จ่าย 5% จากตัวอย่างที่แล้ว แทนที่จะจ่าย ปีละ 150 บาท จะต้องจ่ายให้ผู้เช่า 142.50 บาทและนำส่ง 7.50บาท (หัก ณ ที่จ่าย) ให้สรรพากร

---

記事の内容が貴社の実態に合わせてどのように取り扱われるかが不明な場合など、お困りのことがございましたらお気軽に下記メールアドレスまでお問合せ下さい。

info@bm-ac.com

http://www.businessmanagementasia.com/jp/home

 

BM Accounting Co., Ltd.

BM Legal Co., Ltd.

President

米国公認会計士(inactive)

社会保険労務士

長澤 直毅

 

※本記事に記載の内容は、作成時点で得られる法律、実務上の情報をもとに作成しておりますが、本記事の閲覧や情報収集については、情報が利用者ご自身の状況に適合するものか否か、ご自身の責任において行なっていただきますようお願いいたします。 本記事に関して発生トラブル、およびそれが原因で発生した損失や損害について、BM Accounting Co., Ltd,/BM Legal Co., Ltd.及び執筆者個人.は一切の責任を負いかねます。また、本記事は一部で外部サイトへのリンクを含んでいますが、リンクする第三者のサイトの個人情報保護の取り扱いや、そのサイトの内容に関して一切責任を負いませんのであらかじめご了承ください。

Back to List